หลังคา พียู โฟม สีเขียวตองอ่อน หลังคา พียู โฟม สีเขียวต […]
Category Archives: ตำบลปากคลองบางปลากด
ตำบลปากคลองบางปลากด
ตำบลปากคลองบางปลากด is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.
ตำบลปากคลองบางปลากด เป็นตำบลหนึ่งใน 5 ตำบล ของอำเภอพระสมุทรเจดีย์
อำเภอพระสมุทรเจดีย์
|
|
---|---|
คำขวัญ: พระสมุทรเจดีย์งามสง่า ด่านหน้าป้อมพระจุลจอมเกล้า ชุมชนเก่าบ้านสาขลา เมืองท่านิวอัมสเตอร์ดัม อร่อยเลิศล้ำพุทราไทย แหล่งประมงใหญ่ชายทะเล | |
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°34′7″N 100°33′42″E | |
อักษรไทย | อำเภอพระสมุทรเจดีย์ |
อักษรโรมัน | Amphoe Phra Samut Chedi |
จังหวัด | สมุทรปราการ |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 120.378 ตร.กม. (46.478 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561) | |
• ทั้งหมด | 141,625 |
• ความหนาแน่น | 1,176.50 คน/ตร.กม. (3,047.1 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 10290 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 1105 |
ที่อยู่ ที่ว่าการ |
หมู่ที่ 5 ถนนสุขสวัสดิ์-นาเกลือ ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ 10290 |
อำเภอพระสมุทรเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ชื่อของอำเภอนี้ได้มาจากพระสมุทรเจดีย์ (พระเจดีย์กลางน้ำ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนเกาะกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ. 2370
บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาของอำเภอนี้ เป็นที่ตั้งของป้อมพระจุลจอมเกล้า สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2436 และได้ใช้เป็นที่มั่นในการรบกับเรือรบฝรั่งเศสในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (ในปีเดียวกัน) นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียง ทางกองทัพเรือยังได้นำเรือรบหลวงแม่กลองซึ่งอนุรักษ์ไว้มาจัดแสดงด้วย
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางขุนเทียน เขตทุ่งครุ (กรุงเทพมหานคร) และอำเภอพระประแดง มีคลองนา คลองสวน คลองกะออม คลองตาสน คลองท่าเกวียน คลองกะออมใน คลองบางจาก และคลองท่าเกวียนเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองสมุทรปราการ มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ จรดอ่าวไทย
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางขุนเทียน (กรุงเทพมหานคร) มีคลองขุนราชพินิจใจเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
- วันที่ 10 มิถุนายน 2490 ตั้งตำบลปากคลองบางปลากด แยกออกจากตำบลในคลองบางปลากด[1]
- วันที่ 31 กรกฎาคม 2522 ตั้งตำบลบ้านคลองสวน แยกออกจากตำบลนาเกลือ[2]
- วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2527 แยกพื้นที่ตำบลปากคลองบางปลากด ตำบลในคลองบางปลากด ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ และตำบลบ้านคลองสวน อำเภอเมืองสมุทรปราการ มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ขึ้นกับอำเภอเมืองสมุทรปราการ[3]
- วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอเมืองสมุทรปราการเป็น อำเภอพระสมุทรเจดีย์[4]
- วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2537 จัดตั้งสุขาภิบาลแหลมฟ้าผ่า ในท้องที่บางส่วนของตำบลแหลมฟ้าผ่า และตำบลในคลองบางปลากด[5] และจัดตั้งสุขาภิบาลพระสมุทรเจดีย์ ในท้องที่ของตำบลปากคลองบางปลากด[6]
- วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลพระสมุทรเจดีย์ และสุขาภิบาลแหลมฟ้าผ่า เป็นเทศบาลตำบลพระสมุทรเจดีย์ และเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า ตามลำดับ
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]
อำเภอพระสมุทรเจดีย์แบ่งการปกครองออกเป็น 5 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็น หมู่บ้าน รวม 42 หมู่บ้าน ได้แก่
1. | นาเกลือ | (Na Kluea) | 8 หมู่บ้าน | |||
2. | บ้านคลองสวน | (Ban Khlong Suan) | 4 หมู่บ้าน | |||
3. | แหลมฟ้าผ่า | (Laem Fa Pha) | 13 หมู่บ้าน | |||
4. | ปากคลองบางปลากด | (Pak Klong Bang Pla Kot) | 4 หมู่บ้าน | |||
5. | ในคลองบางปลากด | (Nai Khlong Bang Pla Kot) | 13 หมู่บ้าน |
การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]
ท้องที่อำเภอพระสมุทรเจดีย์ประกอบด้วยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 6 แห่ง ได้แก่
- เทศบาลตำบลพระสมุทรเจดีย์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปากคลองบางปลากดทั้งตำบล
- เทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลแหลมฟ้าผ่าและตำบลในคลองบางปลากด
- องค์การบริหารส่วนตำบลนาเกลือ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาเกลือทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านคลองสวน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านคลองสวนทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแหลมฟ้าผ่า (นอกเขตเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า)
- องค์การบริหารส่วนตำบลในคลองบางปลากด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในคลองบางปลากด (นอกเขตเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า)
การคมนาคม[แก้]
การคมนาคมทางบก ได้แก่ ถนนสุขสวัสดิ์ ถนนประชาอุทิศ ถนนเลียบคลองสรรพสามิต ถนนสุขสวัสดิ์-นาเกลือ ส่วนการคมนาคมทางน้ำ ได้แก่ คลองสรรพสามิต คลองบางปลากด คลองสวน คลองขุนราชพินิจใจ แม่น้ำเจ้าพระยา
ปากคลองบางปลากด เหล็กกล่องดำ : เหล็กกล่องชุบซิ้งค์ ปากค […]
ปากคลองบางปลากด แผ่นใส ใสกระจก : แผ่นเดียว ก็ขาย ปากคลอ […]